Saturday, 20 April 2024

“ที่ดินของแม่” ระหว่างลูกสาวกับน้องสาวแม่ ใครมีสิทธิ์มากกว่ากัน

นับว่าเป็นเรื่องที่ให้ความรู้และน่าติดตามไม่น้อย เมื่อมีผู้โพสต์ท่านหนึ่งจาก สมช.เว็บดังได้มาโพสต์หัวข้อนี้ จึงทำให้ ชาวเน็ตข้องใจ “ที่ดินของแม่” ระหว่างลูกสาวกับน้องสาวแม่ ใครมีสิทธิมากกว่ากันการแย่ งชิงกันทรัพย์ม รดกนั้น มีให้เห็นอยู่ในละครไทยกันแทบทุกเรื่อง แต่จะมีใครรู้บ้างว่าจริงๆ แล้วทรัพย์มรดกคืออะไร ใครคือผู้มีสิทธิรับมรดกโดยเมื่อไม่นานมานี้ชาวเน็ตได้ตั้งคำถามว่า ที่ดินของแม่ ระหว่างลูกสาวกับน้องสาวแม่ ใครมีสิทธิมากกว่ากัน

ทั้งนี้ การรับมรดกที่ดิน นั่นก็คือ เมื่อผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิเกี่ยวกับที่ดิน (เช่น โฉนดที่ดิน หรือ น.ส. หรือ น.ส.3 ก. หรือ น.ส.3 ข.) ได้ถึงแก่กรรมไป ในทางกฎหมายแล้วที่ดินเหล่านั้นก็จะถือเป็นมรดก ซึงจะตกทอดแก่ทายาทของผู้ที่เสี ย ไปแล้วโดยสิทธิตามกฎหมายหรือโดยพินัยก ร ร มที่เจ้ามรดกทำไว้

การรับมรดกที่ดิน ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมายหรือทายาทโดยธรรม มี 7 ลำดับ

1.ผู้สืบสันด า น(บุตร, หลาน, เหลน, ลื้อ)
2.ภรรยาหรือสามี (ต้องได้จดทะเบียนสมรสกันเท่านั้น)
3.บิดาและมารดา
4.พี่น้องร่วมทั้งบิดาและมารดาเดียวกัน
5.พี่น้องร่วมบิดา หรือ มารดาเดียวกัน
6.ปู่ย่า ตาและยาย
7.ลุง ป้า น้า อา

ตามกฎหมายแล้ว ใครมีสิทธิรับม รดกขึ้นอยู่กับผู้มราจากไป ซึ่งเป็นเจ้าของมรดกได้ทำพินัยก ร ร มไว้ก่อนจากไปหรือไม่ ถ้าทำไว้ทรัพย์มรดกก็จะต กเป็นของบุคคลที่ได้ระบุไว้ในพินัยก ร ร มซึ่งอาจเป็นญาติหรือผู้อื่นที่ไม่ใช่ญาติของเจ้าของมรดกก็ได้ แต่ถ้าผู้ต ายไม่ได้ทำพินัยกรรมไว้ ทรัพย์ของมรดกก็จะต กเป็นของทายาทตามกฎหมายหรือทายาทโดยธรรม ซึ่งเป็นญาติชั้นสนิทหรือชั้นห่างของเจ้ามรดกนั้นเอง

สำหรับส่วนแบ่งมรดกของญาติโดยธรรมมีหลักอยู่ว่า ญาติลำดับเดียวกัน จะได้รับส่วนแบ่งเท่ากัน หากคู่มรดกมีคู่สมรสและมีลูก คู่สมรสจะมีสิทธิเท่ากับลูกคนหนึ่ง แต่หากเจ้ามรดกไม่มีลูก แต่มีพ่อแม่หรือมีพี่น้องพ่อเดียวแม่เดียวกันและมีคู่สมรส คู่สมรสได้ครึ่งนึง อีกครึ่งหนึ่งแบ่งให้กับญาติหากเจ้ามรดกไม่มีทายาทลำดับที่ 1,2,3,4 แต่มีทายาทลำดับที่ 5 คือพี่น้องพ่อเดียวกันหรือแม่เดียวกัน หรือลำดับที่ 6,7 คือปู่ย่าตา และ ย าย และลุง ป้า น้า อา คู่สมรสได้มรดก 2 ใน 3 ส่วน อีก 1 ใน 3 ส่วน ให้แก่ญาติไปแบ่งกัน ส่วนกรณีถ้าไม่มีทายาทซึ่งเป็นญาติ มรดกจะต กแก่คู่สมรสทั้งหมด

สำหรับขั้นตอนและหน่วยงานเพื่อการขอจดทะเบียนรับมรดก ผู้มีสิทธิได้รับมรดกกรณีเป็นที่ดินจะต้องไปขอจดทะเบียนรับโดนมรดกที่ดินนั้นที่สำนักงานที่ดินจังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ในกรณีที่มีเอกสารสิทธิเป็นโฉนดที่ดิน น.ส.3 ข. และสำนักงานที่ดินอำเภอ

ในกรณีที่มีเอกสารสิทธิเป็น น.ส.3 ก., น.ส. 3 ถ้าท้องที่ใดที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกเ ลิ กอำนาจหน้าที่ของนายอำเภอเกี่ยวกับปฏิบัติการตามกฎหมายที่ดินแล้ว ไม่ว่าที่ดินจะเป็นโฉนดที่ดิน น.ส. 3ก. หรือ หรือ น.ส.3 หรือ น.ส.3 ข.จะต้องไปขอจดทะเบียนที่สำนักงานที่ดิน จังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขาที่ที่ดินตั้งอยู่

ตามกฎหมายแล้ว ใครมีสิทธิรับมรดกขึ้นอยู่กับผู้ที่ได้จากไป ซึ่งเป็นเจ้าของมรดกได้ทำพินัยก ร ร มไว้ก่อนจากไปหรือไม่ ถ้าทำไว้ทรัพย์มรดกก็จะต กเป็นของบุคคลที่ได้ระบุไว้ในพินัย ก ร ร ม ซึ่งอาจเป็นญาติหรือผู้อื่นที่ไม่ใช่ญาติของเจ้าของมรดกก็ได้ แต่ถ้าผู้จากไป ไม่ได้ทำพินัยกร ร มไว้ ทรัพย์ของมรดกก็จะต กเป็นของทายาทตามกฎหมายหรือทายาทโดยธรรม

ที่มา : สมาชิกหมายเลข 4813186, dotproperty
เรียบเรียงโดย ธรรมะเกษตรก้าวหน้า