Saturday, 27 July 2024

เคล็ดลับดูแลกล้วยน้ำห ว้ าด้วยน้ำ ให้ได้ผลใหญ่ หวีเยอะ

สวัสดีท่านผู้อ่านที่น่ารักทุ กท่าน ก่อนอื่นแอดมินและทีมงานเพจธรรมะเกษตรก้าวหน้าก็ขอขอบคุณที่ท่านผู้อ่านยังคงติดตามผลงานของเราตลอดมา ทางทีมจะคอยนำเสนอเรื่องราวดีๆ ให้ความเพลิดเพลินใจและมีประโยชน์แก่แฟนเพจทั้งหลายให้ท่านได้อ่านอยู่เสมอวันนี้แอดมินจะพามาดูแรงบันดาลใจในการสร้างอาชีพ สร้างsายได้ กับการทำงานที่อิสระเป็นนายตัวเอง

สำหรับการปลูกกล้วยน้ำว้า สิ่งสำคัญคือผลผลิต กล้วยลูกใหญ่หวีเยอะ ซึ่งในส่วนการปลูก เกษตรกรหลายท่านน่าจะชำนาญไปแล้ว แต่สำหรับการดูแลเพื่อให้ได้ผลลผิตที่ตรงตามต้องการนั้น ทั้งในด้านคุณภาพ และปริมาณต้องมีเทคนิคต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การปลูกกล้วยประสบความสำเร็จวันนี้เราจึงนำเทคนิคการดูแลกล้วยมาฝากกัน

เทคนิคที่ว่านี้คือ การให้น้ำ ซึ่งการให้น้ำ เป็นสิ่งสำคัญในการปลูกกล้วยน้ำว้า แต่อ ย่ า ให้ท่วมขัง เพราะรากจะเ u่ าควรหาเศษฟาง เศ ษใบไม้แห้งหรือใบตองที่ได้จากการตั ดแต่งใบต้นกล้วย คลุมที่โคนต้นการให้น้ำต้นกล้วยน้ำว้ าช่วงที่ปลูกใหม่ ให้ร ดน้ำวันเว้นวัน ประมาณครั้งละ 10 นาที เมื่อกล้วยตั้งตัวได้แล้ว รดน้ำ 2-3วันครั้ง หรือ 1 ครั้งต่อสัปดาห์
ซึ่งแหล่งน้ำสำหรับกล้วยน้ำว้ามีหลายแหล่ง แต่นิยมให้น้ำเหนือผิวดินมากที่สุด เพราะเลียนแบบธรรมชาติและมีประสิทธิภาพมากกว่าแบบอื่นๆ

วิธีการให้น้ำเหนือผิวดินมีวิธีการปลีกย่อยออกเป็น 2 แบบ คือ

1การให้น้ำโดยทั่วถึง นิยมใช้ในภาคกลาง คือยกร่องสวนให้มีน้ำล้อมรอบ แล้วใช้เรือวิ่งสูบน้ำ หรือครื่องสูบน้ำร ด ต้นกล้วยไปตามร่องน้ำจนชุ่ม วิธีนี้ช่วยประหยัดต้นทุนและลดปัญหาเรื่องแหล่งน้ำได้แต่ต้นทุนจากการสูบน้ำจะสูงกว่าปกติ หากเป็นพื้นที่ดอน หรือเป็นช่วงข าดแคลนน้ำ จะถือว่าเป็นวิธีการที่ไม่มีประสิทธิภาพก่อให้เกิดปัญหาเรื่องแหล่งน้ำ ฉะนั้นอาจต้องศึกษาข้อมูลให้ดีก่อน

2การให้น้ำแบบเฉพาะจุด นิยมใช้ในปัจจุบัน เหมาะสำหรับพื้นที่สวนในที่ดอน หาแหล่งน้ำย าก แต่ดินควรเป็นดินเ นื้ อละเอียดถึงค่อนข้างหย า บน้ำจะไหลซึ ม แผ่กระจายทางด้านข้าง ซึ่งเป็นบริเวณที่รากแผ่กระจาย และควรรดให้ชุ่มพอที่รากจะดูดซับน้ำไปเลี้ยงต้นได้ตามที่พืชต้องการ ส่วนดินที่ร่วนซุ ย จะทำให้น้ำไหลเร็ว แทนที่จะไหลซึม

กล้วยน้ำว้า

วิธีนี้ เช่น มินิสปริงเกลอร์ การให้น้ำแบบหยดเล็กที่ต้องอาศัยอุปกรณ์เพิ่มเติมหากจะใช้ระบบรดน้ำต้นกล้วยแบบไหน ศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ก่อนจะเป็นการดีนะคะ เนื่องจากหากเลือกใช้ไม่เหมาะ อาจทำให้ต้นทุนในการให้สูงได้ค่ะ

ขอบคุณแหล่งที่มา http://www.m-group.in.th เรียบเรียงโดย เพจธรรมะเกษตรก้าวหน้า