Saturday, 27 July 2024

สวนพริกไทยท้ายไร่ ต้นแบบปลูกพริกไทยแบบควบคุม ใช้พื้นที่น้อย แต่ได้ผลดี

สวัสดีค่ะ ท่านผู้อ่านที่น่ารัก ได้มาพบเจอกันอีกแลัว ก่อนอื่นแอดมินและทีมงานเพจธรรมะเกาตรก้าวหน้า ก็ขอขอบคุณที่ท่านผู้อ่านยังคงติดตามผลงานของเรามาตลอด เราจะคอยสรรหานำเสนอเรื่องราวดีๆ และมีประโยชน์แก่แฟนเพจทุกท่าน ให้ท่านได้อ่านเรื่องราวดีตลอดเราจะคอยนำเสนอเรื่องราวดีๆ และมีประโยชน์แก่แฟนเพจทั้งหลายให้ท่านได้อ่านอยู่เป็นนิจนะคะ วันนี้แอดก็ขอนำเสนอเรื่องราวดีๆ ไปดูกันเลย

การปลูกพริกไทยกับการใช้ชีวภัณฑ์ ในการปลูกพริกไทยนั้นเราต้องเข้าใจว่า พริกไทย จะเจริญเติบโตได้ดีกับอากาศที่มีความชื้นสูง แดดไม่แรง ซึ่งในยุคเริ่มต้นของการปลูกพริกไทยนั้น นิยมปลูกกันมากในภาคตะวันออกของประเทศไทยเรา ซึ่งจะเป็นลักษณะอากาศชื้น ฝนชุก มีลมพัดผ่าน ทำให้ไม่มีความร้อนสะสม แต่ในปัจจุบันมีการพัฒนาเรื่องเทคโนโลยีการเกษตรขึ้นมาก รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการเกษตรออนไลน์มีมากขึ้น โดยปัจจุบันสามารถเลียนแบบหรือจำลองบรรย ากาศให้มีความชื้นตามแบบที่พริกไทยต้องการได้

การปลูกพริกไทยสมัยใหม่นี้จะมีการพร างแสงให้กับแปลงพริกไทย หรือมีระบบพ่นหมอกบริเวณรอบๆ แปลงปลูก หรือการติดตั้งระบบน้ำการให้น้ำแบบสปริงเกลอร์จากด้านบนลงมา ดังนั้น จึงไม่แปลกใจเลยที่จะสามารถปลูกพริกไทยกันได้ทั่วไปในขณะนี้ ซึ่งบรรย ากาศที่พริกไทยชอบนี้ก็ไปตรงกับการเจริญเติบโตได้ดีกับเชื้ อร า แบคทีเรียที่เป็นประโยชน์กับพริกไทยหรือพืชอื่นๆ กล่าวคือ จะเจริญเติบโตได้ดีในที่ที่มีความชื้นและมีแสงน้อย ดังนั้น การปลูกพริกไทยจึงเหมาะอย่างยิ่งที่เราจะมาใช้ชีวภัณฑ์แทนการใช้เคมีภัณฑ์ที่มีแต่อันตร ายสะสมแก่ตัวเกษตรกรเองและผู้บริโภคผลผลิตของเกษตรกรที่นำออกไปจำหน่าย เรามาทำความรู้จักชีวภัณฑ์กันก่อน ชีวภัณฑ์ หมายถึง ชีวินทรีย์ ได้แก่ ร า แบคทีเรีย ไวรัส ที่ใช้เป็นสารควบคุมโร คและแม ลงศั ต รูพืช โดยที่ไม่มีอันตรายแก่คนหรือสัต ว์ต่างๆ

สำหรับการปลูกพริกไทยนั้น พริกไทย มักจะเป็นโร คที่เกิดจากความชื้น เช่น ร าน้ำหมากที่ใบ ร ากเน่าโคนเน่า ร าสนิม ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยและการป้องกันกำจัดโร คที่มักเกิดกับพริกไทยของเรา จึงควรใช้ ชีวภัณฑ์เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งชีวภัณฑ์ตัวที่ต้องใช้ควบคู่กับการปลูกพริกไทยตลอดกาลคือ เชื้ อไตรโคเดอร์ม่าซึ่งปัจจุบันนี้ไม่มีความยุ่งย ากในการต้องเพาะเลี้ยงเชื้ อแล้ว มีผู้ผลิตเชื้ อไตรโคเดอร์ม่าชนิดเม็ดเคลือบฟิล์มออกมาจำหน่ายแล้ว เพียงแค่บดให้แต กแล้วผสมน้ำฉีดพ่นได้เลย หรืออาจจะผสมลงในน้ำของถังพ่นหมอกสำหรับแปลงที่มีการติดตั้งระบบพ่นหมอก หรือฉีดพ่นกับเครื่องพ่นทั่วไป โดยพ่นทุก 7-10 วันเชื้ อไตรโคเดอร์ม่านี้จะป้องกันและกำจัดเชื้ อร าต่างๆ ที่เป็นโร คประจำตัวของพริกไทยได้ โดยใช้อย่างสม่ำเสมอก็จะไม่มีปัญห าอีกต่อไป ซึ่งที่สวนตนเองใช้มาโดยตลอดอย่างต่อเนื่องพบว่าได้ผลดี ต้นพริกไทยไม่เจอเรื่องการระบ าดของโร คเชื้ อร า

ข้อควรระวังสำหรับพริกไทยในช่วงฤดูร้อน ถือว่าเป็นประสบการณ์โดยตรงของตนเอง คุณนิพนธ์ เล่าว่า ปัจจุบันบ้านเร าช่วงฤดูร้อนในปัจจุบันจะมีความย าวนานเป็นพิเศษ และฝนทิ้งช่วงนานหลายเดือน ซึ่งเป็นเหตุให้อุณหภูมิในบ างที่สูงเกิน 40 องศาเซลเซียส แม้ในที่ร่มก็ตาม ดังนั้น เมื่ออุณหภูมิสูงมากเช่นนี้ทุกๆ วัน เกษตรกรผู้ปลูกพริกไทยมักพบปัญห ายอดอ่อนหรือกิ่งปร าง (แขนง) ที่ออกมาใหม่จะไหม้และแห้ง สุดท้ายจะร่วงหมด

โดยพริกไทยต้นที่โตแล้วปลายยอดจะร่วงหมด ส่วนพริกไทยปลูกใหม่ยังไม่แข็งแรง จะค่อยๆ แห้งเฉาในที่สุด ส่วนใบที่แก่แล้วจะโดนความร้อนเผาไหม้ ทำให้น้ำในใบพริกไทยออกไปหมด ใบพริกไทยจึงค่อยๆ มีสีดำแห้งและร่วงไปในที่สุดเกษตรกรหลายคนเมื่อพบปัญห าเช่นนี้มักจะรดน้ำเพิ่มขึ้น วันละ 2-3 รอบ ซึ่งเป็นการแก้ปัญห าที่ผิดวิธีเพร าะจะไปทำให้เกิดปัญห าร ากเน่าโคนเน่าตามมาอีก ดังนั้นการแก้ปัญห าต้องไปแก้ที่ต้นเหตุ คือ การลดอุณหภูมิหรือควบคุมอุณหภูมิไม่ให้สูงเกินไปในบริเวณแปลงพริกไทย มาดูวิธีกันดังนี้

ระบบให้น้ำจากที่สูง แบบนี้ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากต้นทุนต่ำ และใช้ร่วมกับระบบให้น้ำพริกไทยเลย โดยการทำระบบน้ำของพริกไทยให้มีความสูงจากพื้น ประมาณ 1.2-1.5 เมตร ตามระหว่างเสาพริกไทยเมื่อให้น้ำความชื้นจึงเกิดขึ้นรอบๆ บริเวณและใบต้นของพริกไทยจะได้รับน้ำด้วยหรือเกษตรกรบ างคนอาจจะใช้สายไมโคร PE เป็นท่อนำแนบขึ้นไปกับเสาพริกไทย แล้วให้น้ำมาจากด้านบนเพื่อให้เสาปูนที่ปลูกมีความชื้นและลดความร้อนบริเวณรอบๆ เสาพริกไทยได้

ระบบพ่นหมอก ระบบนี้ต้นทุนสูงมาก ต กไร่ละ 30,000 บ าท โดยประมาณ แต่ การควบคุมความชื้นจะมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งติดตั้งระบบการตั้งเวลาให้ทำงานอัตโนมัติด้วยแล้วยิ่งจะทำให้การทำงานลงตัวยิ่งขึ้น ผลพลอยได้ที่ตามมาคือสามารถใส่สารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดเชื้ อร า แบคทีเรียต่างๆ ปนไปในระบบพ่นหมอกได้เลย ซึ่งถือว่าเป็นผลพลอยได้ที่คุ้มค่ามาก โดยที่สารชีวภาพพวกนี้ต้องการอุณหภูมิในการแต กสปอร์หรือการขย ายเชื้ อที่ไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส เช่น เชื้ อร าไตรโคเดอร์ม่า เป็นต้น สำหรับคนที่ไม่ชอบลงทุนเพิ่มหรือปลูกจำนวนน้อยๆ หลัก ก็ต้องอาศัยความขยันเพิ่มงานคือ ช่วงเที่ยงหรือบ่ายที่มีอุณหภูมิสูง ให้ใช้เครื่องพ่นย าแรงดันสูง เดินพ่นน้ำในแปลงเพื่อลดอุณหภูมิในช่วงนั้นๆ ให้แปลงพริกไทย

การขย ายพันธุ์พริกไทย เป็นพืชไม้เลื้อยที่มีระบบร ากส่วนหนึ่งที่มีความพิเศษกว่าพืชทั่วไป ที่เร าเรียกกันว่า ร ากอากาศ โดยเมื่อมีความชื้นในอากาศรา กนี้จะแต กออกมาจากข้อที่มีความแก่พอเหมาะของกิ่งพริกไทยดังนั้น ทำให้การขย ายพันธุ์พริกไทยสามารถที่จะทำได้ง่าย แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอกด้วย เช่น ความชื้นในอากาศ โดยที่อุณหภูมิต้องไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส ห ากพื้นที่ใดมีอุณหภูมิที่สูงกว่านี้ ควรมีการพรางแสงให้โรงเรือน หรือระบบพ่นหมอกเพื่อลดอุณหภูมิในบริเวณโรงเรือนนั้นด้วย

ส่วนที่นำมาขย ายพันธุ์ของพริกไทยซีลอน มีอยู่ 2 ส่วน คือ กิ่งแขนง และกิ่งไหล โดยกิ่งแขนง หรือชาวสวนพริกไทย เรียก “กิ่งปร าง” ซึ่งเป็นกิ่งที่ให้ผลผลิตอยู่แล้วบนต้น เมื่อนำมาปักชำหรือตอนกิ่ง กิ่งแขนงหรือกิ่งปรางเมื่อนำไปปลูกจะมีพัฒนาการสร้างทรงพุ่มอยู่ทางด้านล่างของเสาปลูกเป็นพุ่มเตี้ยออกช่อติดผลเลยทันทีที่ต้นตั้งตัวหรือแต กยอดใหม่หลังการปลูกกิ่งแขนงหรือกิ่งปรางจะให้ผลผลิตเร็ว ห ากท่านใดมีพื้นที่น้อย ต้องการนำไปใส่กระถางปลูกรับประทานในบ้านเล็กๆ น้อยๆ ก็เลือกต้นพันธุ์จากกิ่งแขนงไปปลูก

กิ่งไหล คือ ส่วนยอดสุดของต้น ที่เรามักพบว่า มักจะเลื้อยห้อยลงมาเมื่ออยู่บนเสาปูน ซึ่งยอดกิ่งไหลนั้นจะมีฮอร์โมนจิบเบอเรลลินสะสมอยู่ในส่วนปลายยอด และที่ยอดอ่อนเป็นจำนวนมาก พัฒนาการทางด้านการเจริญเติบโตและการพุ่งห าแสงจะมีค่อนข้างมาก ถ้านำมาปลูกเชิงการค้า คือปล่อยเลื้อยขึ้นเสาปูน ควรเลือกซื้อต้นพริกไทยที่ตอนหรือชำมาจากกิ่งไหลมาปลูก เพราะจะโตเร็วเลื้อยเกาะขึ้นหลักเร็วกว่าต้นพริกไทยที่ได้จากกิ่งแขนง แต่จะให้ผลผลิตช้ากว่าต้นพันธุ์ที่ได้จากกิ่งแขนง ผลผลิตจะเริ่มเก็บได้ก็ประมาณ 8-14 เดือน หลังปลูก

แต่ถ้าท่านใดเอาส่วนของต้นพันธุ์ที่ได้จากกิ่งแขนงหรือกิ่งปราง เลี้ยงให้ขึ้นหลัก ก็จะนานกว่าส่วนที่เลี้ยงต้นพันธุ์จากไหลยอด เพราะการที่กิ่งแขนงให้ผลผลิตเร็วจะทำให้มีพัฒนาการทางด้านความสูงช้า ดังนั้น ถ้าปลูกแบบการค้าเลื้อยขึ้นเสาปูน จึงใช้ในส่วนของไหลยอดมาขย ายพันธุ์ เพราะเลื้อยขึ้นเสาค้างที่มีความสูงได้ดีนั้นเอง สำหรับเกษตรกรที่สนใจทำระบบพ่นหมอกแบบอัตโนมัติสามารถขอคำปรึกษา รวมทั้งการถ่ายทอดประสบการณ์จริง หรือต้องการเข้ามาดูงานจริงได้ที่ สวนพริกไทยท้ายไร่ ตำบลเนินปอ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร ได้ทุกวันไม่มีวันหยุดพริกไทย จะเจริญเติบโตได้ดีกับอากาศที่มีความชื้นสูง แดดไม่แรง ซึ่งในยุคเริ่มต้นของการปลูกพริกไทยนั้น นิยมปลูกกันมากในภาคตะวันออกของประเทศไทยเรา

เรียบเรียงธรรมะเกษตรก้าวหน้า