ข่าวดี! สำหรับเกษตรกรไทย เปิดต้นไม้โตเร็ว 5 ชนิดในไทย เพื่อขายส่งโรงงานไฟฟ้าที่ญี่ปุ่น มีอะไรบ้าง?

ข่าวดี สำหรับเกษตรกรไทย เมื่อญี่ปุ่นเซ็นสัญญา ลงนามกับไทย เพื่อรับซื้อไม้ไม้โตเร็วกว่า 4,000 ล้านเยน เพื่อส่งโรงงานไฟฟ้า ต้องเริ่มกันก่อนที่ว่าในตอนนี้ทางประเทศญี่ปุ่นนั้นต้องการเ ชื้ อเพลิงและพลังงานในการผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศเป็นอย่างมากซึ่งก็จะมีผลมาจากการใช้นโยบายปริมาณการใช้ถ่านหินและยกเลิกโรงไฟฟ้านิ ว เ ค ลีย ร์ต่างๆและอาหารมาชื่อเครื่องใช้พลังงานทดแทนเป็นหลักสำคัญในการผลิตพลังงานไฟฟ้านั่นเองซึ่งบอกเลยว่าในขณะที่พลังงานแสงอาทิตย์นั้นมีข้อจำกัดอย่ างมากมายทำให้ผลิตไฟฟ้าได้ประมาณแค่ 5 ชั่วโมงจึงทำให้ชาวญี่ปุ่นนั้นจะต้องหาวิธีการเพิ่มพลังงานมากยิ่งขึ้น

เลยทำให้พวกเขานั้นมีเป้าหมายในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวลซึ่งสามารถใช้พลังงานทดแทนได้โดยใช้วัสดุจากไม้ประมาณ 5 GW นางต้องการวัสดุวัตถุดิบที่ผลิตจากประเทศไทยเป็นหลักซึ่งเป็นการเพิ่มเชื้อเพลิงมาจากไม้อัดเม็ดนั่นเอง แม้ในตอนนี้เขาต้องการชาวเกษตรกรและผู้ที่มีประกอบการและมีความต้องการซื้อไม้ซึ่งจะต้องมีการทำข้อตกลงไว้ล่วงหน้าก่อนและผู้ประกอบการทั้งหลายนั้นจะต้องเป็นผู้จัดหาซื้อได้เพียงต้นกล้าไม้คุณภาพดีตามความต้องการของประเทศญี่ปุ่นรวมถึงการฝึกอบรมให้กับชาวเกษตรกรเพื่อไปดำเนินกิจกรรมให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่เขากำหนดเอาไว้

เหตุนี้เองทางบริษัท บริษัท JC Services จำกัด ซึ่งเป็นผู้ประกอบการโรงไฟฟ้าประเทศญี่ปุ่นได้ทำการวิเคราะห์และตัดสินใจลงทุนร่วมกับโรงงานผลิต ผลิต Wood Pellet ในประเทศไทยจำนวน 20 แขวงและมีเป้าหมายในการผลิตอยู่ที่ 5 ล้านตันต่อปี

สึนามิจังหวัดพังงานั้นนำร่องแล้วมีกำลังผลิตอยู่ที่ประมาณ 700 ต้นต่อวันเท่านั้นคาดว่าจะต้องเพิ่มผลผลิตให้ได้ปริมาณ 200,000 ตันต่อปีและสามารถส่งต่อเครื่องปี 2562 และต้องการที่จะขยายพื้นที่เป้าหมายประมาณ 20 โรงงานมากขึ้นตามกำลังผลิตวัตถุดิบของแต่ละพื้นที่โดยในภาคใต้นายจะมีไม้ยางพาราเป็นจำนวนมากและในปัจจุบันนั้นมีเพียงแค่ 3 โรงงานคือในจังหวัดสุราษฎร์ธานีกระบี่และชลบุรีและคาดว่าจะใช้เงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 4000 ล้านเยนเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่นอีกครั้งการเพิ่มมูลค่าสร้างรายได้ให้กับชาวเกษตรกรที่ได้ปลูกไม้ ส่งไปให้ทางประเทศญี่ปุ่นด้วย

Mr.Masami Nakakubo CEO บริษัท JC Service จำกัดได้รับใบอนุญาตจากรัฐบาลญี่ปุ่นในการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้าชีวมวลมากกว่า 5GW รับผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ซึ่งมีกำหนดเริ่มเดินเครื่องอยู่ที่ประมาณปีพ.ศ 2019 ฉันนั้นมีความจำเป็นอย่างมากโดยการสร้างโรงงานผลิตไม้วู้ดพาเลทเป็นจำนวน 20 โรงงานและต้องการโรงงานที่สามารถผลิตได้ 200000 50,000 ตันต่อปีซึ่งจะพิจารณาจากวัตถุดิบที่ยั่งยืนเป็นหลักอีกครั้งและตัดสินใจร่วมทุนโรงงานผลิตในประเทศไทยจำนวนของโรงงานโดยต้องการผลิตผลรวมอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านตัน

ที่ประเทศไทยนั้นน่าสนใจแต่การลงทุนแนะนำเป็นเพราะว่าประเทศไทยนั้นมีไม้ยางพาราที่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการทดแทนเนื่องจากมีการโค่นต้นไม้เพื่อปลูกทดแทนปีละประมาณ 500 ไร่ต่อปีและสามารถเข้าสู่ตลาดได้ราวราว 43 ล้านตันต่อปีซึ่งศักยภาพของไม้ยางพาราในภาคใต้นั้นถือว่าเป็นเรื่องสำคัญแต่ทว่าในเนื่องจากยางพารานั้นมีรอบตัดฟันอยู่ที่ประมาณ 25 ปีจึงเสี่ยงต่อด้านวัตถุดิบในระยะย าวจึงได้ลงนามความร่วมมือกับมหาวิทย าลัยเกษตรศาสตร์ในเรื่องการต่างด้านนวัตกรรมการจัดการวัตถุดิบและการวิจัยพัฒนาต่างๆให้เขาช่วยเราความช่วยเหลือและมีการส่งเสริมให้ปลูกต้นไม้ให้โตเร็วโดยเฉพาะไม้ยูคาลิปตัสกระถินอะเคเชียและมีการปลูกสวนป่าหรือปลูกร่วมกับยางพาราได้ เพราะถือว่านี่เป็นการสร้างมูลค่าและความยั่งยืนให้กับพื้นที่อีกทั้งยังได้รายได้ที่สม่ำเสมอนะพอสอดคล้องกับนโยบายต่างๆในการเข้าย างพาราของประเทศไทยเราเพื่อประโยชน์จากที่ตรงนี้ก็สามารถดำเนินการพัฒนาในเรื่องของการจัดป่าไม้ได้อย่ างยั่งยืนและเป็นไปตามแนวทางมาตรฐานระดับสากลอีกด้วย

ไม้ที่โตเร็วเหมาะสมกับดิน
(1) กระถินอะเคเซีย (Acacia sp.)
(2) กระถินยักษ์ (Leucaena leucocephala)
(3) สนประดิพัทธ์ (Casuarina junhuniana)
(4) ยูคาลิปตัสทุกชนิด (Eucalyptus spp.)
(5) เสม็ดขาว (Melaleuca cajuputi)

ซึ่งผู้ประกอบการนั้นมีความต้องการที่จะรับซื้อไม้โดยมีการทำข้อตกลงไว้ก่อนล่วงหน้าและเป็นการถ่ายผู้จัดหาและเตรียมจัดการต้นไม้ที่มีคุณภาพและความต้องการอีกทั้งยังต้องการฝึกอบรมชาวเกษตรทั้งหลายเพื่อปฏิบัติหน้าที่ให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่ทางญี่ปุ่นนั้นต้องการพอได้มีความเชื่อว่าโรงงานไฟฟ้านั้นสามารถแก้ปัญหาในเรื่องพลังงานได้อย่างเหมาะสมอีกทั้งยังส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการปลูกต้นไม้เพื่อสามารถใช้ประโยชน์ใช้สอยจากไม้ได้อย่างคุ้มค่าตามหลักมาตรฐานนานาชาติอีกด้วยและไม้นั้นไม่ควรเป็นไม้ที่มาจากป่าธรรมชาติควรเป็นไม้ที่ปลูกด้วยตัวเองเพื่อยืนยันถึงเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมอันสำคัญ

แน่นอนไอ้มินก็ยังเห็นในเรื่องของกฎหมายในประเทศไทยเป็นเรื่องสำคัญซึ่งกรมป่าไม้นั้นได้ระบุไว้ว่าไม้บัณฑิตพันธุ์ดีของไทยอาทิเช่นไม้สักไม้แดงไม้เต็งไม้พยุงไม้ตะเคียนรวมกระทั่งไม้ไผ่ทุกชนิดคือไม้หวงห้ามซึ่งจะเป็นการปลูกเพื่ออนุรักษ์เท่านั้นจึงทำให้ไม้เหล่านี้ไม่ได้อยู่ในนิดแต่อย่างใดโดยจะเน้นไปที่การปลูกไม้ยูคาลิปตัสและต้นกระถินแปรรูปเป็นวู้ดพาเลทแทน

ทั้งนี้ทางคณะวนเกษตรของมหาวิทย าลัยเกษตรศาสตร์ก็ได้จับมือกับโรงงานอุตสาหกรรมโรงเรียนแล้วไปลงทุนที่โรงไฟฟ้าชีวมวลในประเทศญี่ปุ่นเพื่อส่งเสริมการปลูกไม้ตระกูลกฐินในจังหวัดอุบลราชธานีอุทัยธานีและจังหวัดอื่นๆซึ่งไม้เหล่านี้ก็สามารถรับมาเป็นวุ๊ดพาเลทได้อีกทั้งยังป้องตัวอย่ างโรงงานไฟฟ้าและส่งออกไปยังได้ทั่วโลกแล้วก็ได้จับมือกับการยางแห่งประเทศไทยเพื่อส่งเสริมให้ชาวสวนยางปลูกยางพาราในพื้นที่ที่ดินมีเอกสารสิทธิ์และสามารถนำยาเหล่านั้นมาผลิตเป็นวู๊ดพาเลซเพื่อป้อนสู่ตลาดโลกได

แหล่งที่มา ขอบคุณที่มา khaonaroo